ที่มีสมบัติในการต้านการไหลของกระแสไฟฟ้า
โดยทั่วไปแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1) ตัวต้านทานคงที่ ( Fixed Value Resistor ) เป็นตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานของการไหลของกระแสไฟฟ้าคงที่ มีสัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจร คือ
ซึ่งสามารถอ่านค่าความต้านทานได้จากแถบสีที่คาดอยู่บนตัวความต้านทาน มีหน่วยเป็นโอห์ม ( Ω )
แถบสีที่อยู่บนตัวต้านทานโดยส่วนมากจะมี 4 แถบ และมีแถบสีที่ชิดกันอยู่ 3 สี อีกสีหนึ่งจะอยู่ห่างออกไปที่ปลายข้างหนึ่ง การอ่านค่าจะเริ่มจากแถบสีที่อยู่ชิดกันก่อนโดยแถบที่อยู่ด้านนอกสุดให้เป็นแถบสีที่ 1 และสีถัดไปเป็นสีที่ 2, 3 และ 4 ตามลำดับ สีแต่ละสีจะมีรหัสประจำแต่ละสี ดังตาราง
สี
|
แถบสีที่ 1
|
แถบสีที่ 2
|
แถบสีที่ 3
|
แถบสีที่ 4
|
ค่าตัวแรก(หลักสิบ)
|
ค่าตัวแรก(หลักหน่วย)
|
ตัวคูณ
|
% ความ
คลาดเคลื่อน | |
ดำ |
0
|
0
|
1
|
-
|
น้ำตาล |
1
|
1
|
10
|
-
|
แดง |
2
|
2
|
100
|
± 2 %
|
ส้ม |
3
|
3
|
1,000
|
-
|
เหลือง |
4
|
4
|
10,000
|
-
|
เขียว |
5
|
5
|
100,000
|
-
|
ฟ้า |
6
|
6
|
1,000,000
|
-
|
ม่วง |
7
|
7
|
10,000,000
|
-
|
เทา |
8
|
8
|
100,000,000
|
-
|
ขาว |
9
|
9
|
1,000,000,000
|
-
|
ทอง |
-
|
-
|
0.1
|
± 5 %
|
เงิน |
-
|
-
|
0.01
|
± 10 %
|
ไม่มีสี |
-
|
-
|
-
|
± 20 %
|
2) ตัวต้านทานที่เปลี่ยนค่าได้ ( Variable Value Resistor ) เป็นตัวต้านทานที่เมื่อหมุนแกนของตัวต้านทาน แล้วค่าความต้านทานจะเปลี่ยนแปลงไป นิยมใช้ในการควบคุมค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า ( Voltage )
ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การเพิ่ม – ลดเสียงในวิทย์หรือโทรทัศน์ เป็นต้น สัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจร คือ
3) ตัวต้านทานไวแสง หรือ แอลดีอาร์ ( LDR ) ย่อมาจาก Light Dependent Resistor เป็นตัวต้านทานปรับค่าได้ โดยค่าความต้านทานขึ้นอยู่กับปริมาณแสงที่ตกกระทบ ถ้าแสงที่ตกกระทบมีปริมาณมาก LDR จะมีค่าความต้านทานต่ำ
ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้ในวงจร คือ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น